ข่าวพระราชกรณียกิจ/พระบรมราโชวาท/ถวายพระพร

No Gift Policy

ช่องทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับติดต่อกรมปศุสัตว์

การจัดประชุม /สัมมนา /การจัดงาน/ประชาสัมพันธ์

ระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์กรมปศุสัตว์

ปฏิทินกิจกรรมผู้บริหารกรมฯ

ข่าวปศุสัตว์จากหนังสือพิมพ์

คำถามที่ถามบ่อย

ระบบการสื่อสารแบบรวมศูนย์ (workD Platform)

แบบสำรวจความพึงพอใจ

ข่าวสารผู้บริหารกรม / กระทรวง (ล่าสุด)

การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม

สื่อประชาสัมพันธ์

แบบสอบถามผู้รับบริการ

ข่าวชี้แจงประเด็นสำคัญ

ข่าวสารหน่วยงานในสังกัดกรมปศุสัตว์

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ

เอกสารประชาสัมพันธ์

ภาพอินโฟกราฟิกที่สำคัญ

ปราชญ์เกษตรของแผ่นดิน ประจำปี 2565

เกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ/สถาบันเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ

อาสาปศุสัตว์ดีเด่นแห่งชาติ

ส่งเสริมอาชีพ

ราคาสินค้าปศุสัตว์ที่เกษตรกรขายได้

โครงการ JAEC

วีดีโอประชาสัมพันธ์

การป้องกันเฝ้าระวังโรค COVID-19

25630401 1covid

ศูนย์อำนวยการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านปศุสัตว์

ศูนย์อำนวยการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านปศุสัตว์

ภาพอินโฟกราฟิกด้านสนันสนุน

ข่าวประชาสัมพันธ์ทั่วไป

การขับเคลื่อนเพื่อประเทศไทย 4.0

การขับเคลื่อนตามนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ข้อมูลเปิดเผยภาครัฐ

โครงการที่สำคัญ/ลิงค์ประชาสัมพันธ์

เว็บไซต์ที่น่าสนใจ

ป้องปรามการกระทำผิดด้านปศุสัตว์

QR Code เว็บไซต์กรมปศุสัตว์

dld qr code
www.dld.go.th

สถิติผู้เข้าชมเว็บไซต์

กำลังออนไลน์

มี 1319 ผู้มาเยือน และ ไม่มีสมาชิกออนไลน์ ออนไลน์

25610822 1

กรณีโคป่วยและตายที่จังหวัดตากด้วยอาการของโรคแบลคเลก ปศุสัตว์จังหวัดตากส่งสัตวแพทย์เข้าฉีดยาปฏิชีวนะรักษา ระดมฉีดวัคซีนป้องกัน สั่งห้ามเคลื่อนย้ายสัตว์ในพื้นที่ เตือนประชาชนอย่าชำแหละซากโคที่ป่วยตายหรือนำเนื้อจากโค ที่ป่วยตายมาบริโภค จะทำให้เชื้อโรคแพร่ระบาดออกไปมากขึ้น


นายสัตวแพทย์สรวิศ ธานีโต อธิบดีกรมปศุสัตว์ เปิดเผยว่า เมื่อบ่ายวันที่ 4 กันยายน 2561 ได้รับรายงานจากปศุสัตว์จังหวัดตาก กรณีเกิดเหตุการณ์โคป่วยและตายในพื้นที่ตำบลโป่งแดง อำเภอเมือง จังหวัดตาก จึงสั่งการให้ปศุสัตว์จังหวัดตากจัดส่งสัตวแพทย์ลงพื้นที่เข้าไปรักษาและสอบสวนโรค โดยในเบื้องต้นสัตวแพทย์ตรวจพบว่า โคแสดงอาการป่วยตาย ด้วยโรคแบลคเลก (Blackleg) สาเหตุเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งโคที่แสดงอาการป่วยและตายนั้นน่าจะได้รับเชื้อเข้าสู่ร่างกายด้วยการกินอาหารที่มีเชื้อโรคนี้ปะปนอยู่ เมื่อเชื้อเข้าสู่ร่างกายจะไปอยู่ตามบริเวณที่มีกล้ามเนื้อหนาๆ เช่น กล้ามเนื้อสะโพก ขา ไหล่ หน้าอก คอหรือลิ้น เป็นต้น แล้วจะขยายตัวเพิ่มจำนวนมากขึ้น พร้อมกับสร้างสารพิษออกมาทำลายกล้ามเนื้อรอบๆ บริเวณที่เชื้ออยู่ อาการสำคัญที่พบได้คือ มีไข้สูง เดินขากะเผลก กล้ามเนื้ออักเสบบริเวณต้นขาหลัง ซึ่งจะบวมร้อน และมีอากาศแทรกอยู่ภายใน เมื่อกดดูจะมีเสียงดังกรอบแกรบ และหากสารพิษที่เชื้อสร้างขึ้นมาดังกล่าว มีปริมาณมากและถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสโลหิต การรักษาอาจจะไม่ทันการ จึงทำให้โคเสียชีวิตได้

นายสัตวแพทย์สรวิศ กล่าวต่อไปว่า “ขณะนี้ ผู้ว่าราชการจังหวัดตากได้ประกาศให้ตำบลโป่งแดงทั้งตำบล เป็นเขตโรคระบาดชั่วคราวชนิดแบล็คเลกแล้ว และปศุสัตว์จังหวัดตากได้สั่งห้ามเคลื่อนย้ายสัตว์ในพื้นที่เกิดโรค พร้อมตั้งจุดสกัดการเคลื่อนย้าย เข้า-ออก เร่งฉีดยาปฏิชีวนะเพื่อรักษาโคที่เหลือซึ่งอยู่ร่วมฝูงกับโคป่วยตาย ส่วนโคที่ตายได้ชันสูตรซาก เก็บตัวอย่างส่งตรวจวินิจฉัยยืนยันทางห้องปฏิบัติการ แล้วทำการฝังกลบและพ่นน้ำยาฆ่าเชื้อรอบบริเวณ นอกจากนี้ยังได้ระดมเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครปศุสัตว์ประจำหมู่บ้าน ลงพื้นที่ฉีดวัคซีนป้องกันโรคแบลคเลคแบบปูพรม ให้กับโคในพื้นที่ตำบลโป่งแดงและพื้นที่ใกล้เคียง โดยจะต้องทำการฉีดวัคซีนป้องกันโรคแบล็คเลกให้กับโคทุกตัวที่อยู่ในพื้นที่เกิดโรคและพื้นที่สงสัยปีละ 2 ครั้ง ต่อเนื่องเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปี รวมถึงได้ประชาสัมพันธ์เรื่องโรคให้เกษตรกรทราบเพื่อเฝ้าระวังและควบคุมโรคอย่างต่อเนื่อง”

สำหรับเจ้าของสัตว์หรือประชาชนทั่วไป หากพบเห็นโค-กระบือ หรือสัตว์ชนิดอื่นป่วยตายและสงสัยว่าจะเป็นโรคระบาด ขอให้แจ้งเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ในพื้นที่ทันที หรือแจ้งข้อมูลได้ที่แอปพลิเคชัน DLD 4.0 “แจ้งการเกิดโรคระบาด” เพื่อจะได้เร่งดำเนินการช่วยเหลือต่อไปตามหลักการ “รู้โรคเร็ว ควบคุมโรคเร็ว” นายสัตวแพทย์สรวิศ กล่าวในที่สุด/.

ข้อมูล : สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดตาก และสถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ กรมปศุสัตว์ (วันที่ 4 กันยายน 2561)

ข่าว : เพ็ญศิริ ดวงอุดม สำนักงานเลขานุการกรม กรมปศุสัตว์


บันทึก
การตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยยอมรับหรือปฏิเสธ คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่มีความจำเป็น
ยอมรับทั้งหมด
ปฏิเสธทั้งหมด
Essential
คุกกี้ประเภทนี้ มีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการทำงานของเว็บไซต์ ท่านจำเป็นต้องยอมรับให้เปิดใช้งาน
คุกกี้ที่มีความจำเป็น
คุกกี้ประเภทนี้ มีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการทำงานของเว็บไซต์ ได้แก่ คุกกี้ที่ทำให้เว็บไซต์สามารถทำหน้าที่ขั้นพื้นฐาน เช่น การเลื่อนสำรวจหน้าเว็บไซต์ หรือ ทำให้ผู้เข้าชม/ผู้ใช้เว็บไซต์สามารถเข้าสู่ระบบและสามารถเข้าถึงส่วนของเว็บไซต์ที่ถูกสงวนไว้ให้ใช้ได้เฉพาะสมาชิกเท่านั้น เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานอย่างถูกต้องได้เลยหากไม่มีการเก็บรวบรวมคุกกี้เหล่านี้
ยอมรับ
Functional
คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยยอมรับหรือปฏิเสธ คุกกี้ในแต่ละประเภทดังต่อไปนี้
คุกกี้ที่ช่วยเหลือในการทำงาน
คุกกี้ประเภทนี้ อาจถูกติดตั้งไว้โดยผู้ให้บริการซึ่งเป็นบุคคลที่สาม โดยเป็นคุกกี้ประเภทที่ทำให้เว็บไซต์สามารถช่วยเหลือหรืออำนวยความสะดวกในการใช้งานให้ท่านได้
ยอมรับ
ปฏิเสธ
คุกกี้เพื่อประสิทธิภาพ
คุกกี้ประเภทนี้ ทำให้ผู้ให้บริการเว็บไซต์ที่คุณเข้าใช้งาน สามารถรับรู้ข้อมูลประสิทธิภาพเว็บไซต์ได้ เช่น จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์ จำนวนการเข้าชมเว็บไซต์ แหล่งที่มาของผู้เข้าชม และหน้าเว็บไซต์ใดที่ได้รับความนิยมมากที่สุดหรือน้อยที่สุด เป็นต้น โดยกรมปศุสัตว์จะนำไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางด้านสถิติเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพเว็บไซต์ เท่านั้น
ยอมรับ
ปฏิเสธ
คุกกี้เพื่อกำหนดเป้าหมาย
คุกกี้ประเภทนี้ อาจถูกติดตั้งไว้โดยผู้ให้บริการซึ่งเป็นบุคคลที่สาม เนื่องจากเว็บไซต์กรมปศุสัตว์มีการเชื่อมโยงลิงค์ไปยังเว็บไซต์ภายนอก ซึ่งเว็บไซต์อื่นหรือโซเชียลมีเดียของบุคคลที่สามจะมีการกำหนดและตั้งค่าคุกกี้ขึ้นมาเอง โดยกรมปศุสัตว์ไม่สามารถควบคุมหรือรับผิดชอบต่อคุกกี้เหล่านั้นได้ และขอแนะนำให้ท่านควรอ่านนโยบายหรือประกาศการใช้คุกกี้ของบุคคลภายนอกเหล่านั้นด้วย โดยคุกกี้ดังกล่าว จะทำการจัดเก็บข้อมูลการเข้าชมเว็บไซต์ของท่าน เช่น ท่านเข้าชมเว็บไซต์ใดบ้าง และเข้าชมเว็บไซต์ผ่านทางลิงก์ใดบ้าง เป็นต้น โดยผู้ให้บริการจะใช้ข้อมูลเหล่านี้เพื่อกำหนดให้เว็บไซต์ และโฆษณาที่ถูกจัดแสดงในเว็บไซต์ของบริษัทฯ เว็บไซต์ในเครือข่ายพันธมิตรของผู้ให้บริการโฆษณา มีความเกี่ยวข้องกับความสนใจของท่านมากขึ้น
ยอมรับ
ปฏิเสธ